Home Tags บทความ

Tag: บทความ

คสช.

กระตุ้นเศรษฐกิจรอบ 3 ของรัฐบาล คสช.

รัฐบาล คสช. บริหารประเทศมาร่วม 2 ปื สิ่งที่ทำได้ดีสุดคือการนำความสงบมาสู่ประเทศ แต่การบริหารด้านอื่นยังทำได้ไม่ดีพอควร...
Heat Island

ปรับพื้นแก้ร้อน ด้วยพื้นที่สีเขียว ลดปรากฏการณ์ Urban Heat Island

ช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมที่ผ่านมา น่าจะเป็นช่วงเวลาที่สภาพอากาศร้อนที่สุดเท่าที่ผมได้เคยประสบมาในชีวิตของผม ประเทศในแถบนี้มีฤดูร้อนที่ร้อนมากก็จริงแต่ก็ไม่ได้ร้อนและแห้งมากขนาดนี้ บางวันอุณหภูมิสูงสุดทะลุไปถึง 44 องศาเซลเซียส ทำเอาแต่ละคนต้องดิ้นรนใช้ชีวิตให้ผ่านความร้อนในแต่ละวันไปกันเลยทีเดียว แม้ว่าสภาพความร้อนที่ว่ามานั้น จะเป็นไปเพราะสภาวะโลกร้อน หรือภูมิอากาศที่ผิดปกติและแตกต่างจากธรรมชาติของย่านนี้หรืออะไรก็ตาม...
หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร

Bangkok City Library ‘หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร’

0
หลังจากการที่กรุงเทพมหานครประกาศตัวเป็น ‘เมืองหนังสือโลกประจำปี 2556’ หลายฝ่ายก็คาดหวังจะได้เห็นสิ่งที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสมญานาม รวมถึงได้เห็นว่าคนไทยรักการอ่านมากขึ้นสมค่าการได้รับการเรียกขานที่ทรงเกียรติเช่นนั้น แต่ก่อนจะไปถึงวันนั้นได้จริง กรุงเทพมหานครได้เผยถึงหนึ่งในพันธกิจที่สืบเนื่องมาจากการเป็นเมืองหนังสือโลก...
สายงานสถาปัตยกรรม

เคล็ด(ไม่)ลับ 21 ข้อ สู่เส้นทางความสำเร็จในสายงานสถาปัตยกรรม

Kevin J Singh รองศาสตราจารย์ ภาควิชาสถาปัตยกรรม แห่งสถาบันด้านการออกแบบ มหาวิทยาลัย...
Discovery Man

นิทรรศการสุดว้าว! Discovery Man&Nendo Exhibition ณ สยามดิสที่เดิม เพิ่มเติมคือความโดน

ในเวลานี้ ห้างสรรพสินค้าที่มีคนกล่าวถึงมากที่สุด และต้องไปให้เห็นกับตามากที่สุด คงหนีไม่พ้น สยามดิสคัฟเวอรี่ หรือชื่อใหม่เต็ม ๆ...
สถาปนิกเปลี่ยนอาชีพ

8 อาชีพที่สถาปนิกทำได้ดีไม่แพ้การเป็น “สถาปนิก”

ข่าวดีสำหรับสถาปนิกที่ต้องการพักงานดีไซน์ คุณสามารถพักสมอง ลองเปลี่ยนงานไปทำอย่างอื่นได้ เพราะทักษะต่าง ๆ ที่สถาปนิกมี เช่น...

รอยศิลป์ผ่านยุคสมัย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์

หากคุณหลงใหลอาคารสถาปัตยกรรมตะวันตกที่สร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งยังคงตระหง่านผ่านยุคสมัยมาจนถึงทุกวันนี้ สถานที่อีกแห่งหนึ่งที่อยากแนะนำให้ไปเยือนก็คือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ หรือที่คนส่วนใหญ่รู้จักในนาม หอศิลป์เจ้าฟ้า...

ปลดล็อคความคิด…สู่ชีวิต (สถาปนิก) สดใส (ตอนที่ 2)

จากที่ได้กล่าวถึง SWOT ANALYSIS ในส่วนจุดแข็งและโอกาสไปในฉบับที่แล้ว คราวนี้ผมจะขอกล่าวถึงจุดอ่อนกันบ้าง เพื่อเสริมมุมมองของท่านผู้อ่าน โดยเฉพาะนิสิต...

Biophilic Design (ตอนที่ 2)

จากครั้งที่แล้วที่ได้นำเอาเรื่อง Biophilic Design มาเล่าสู่กันฟังถึงที่มาของแนวคิดนี้ ในครั้งนี้ผมจะนำเอากรณีตัวอย่างที่น่าสนใจของแนวทางการออกแบบที่ผสานเข้ากับชีวิตต่าง ๆ ให้ท่านผู้อ่านเผื่อได้นำเอาไปใช้ในงานออกแบบกัน...

อาคารโครงสร้างเหล็ก กับการต้านทานแผ่นดินไหว (1)

ตั้งแต่ต้นปืที่ผ่านมานี้ ได้มีข่าวคราวเกี่ยวกับแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในต่างประเทศที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แผ่นดินไหวขนาด 6.4 ซึ่งมีศูนย์กลางการเกิดที่เมืองยูจิง (Yujing)...

ร่องรอยคุมขังในสวนสวย

ทุกพื้นที่ล้วนมีอดีตเป็นของตัวเอง ทว่าเราผู้มาทีหลังหรือสัญจรผ่านทางก็อาจจะไม่ได้ทราบที่มา หรือรู้จักอดีตของสถานที่เหล่านั้นมากไปกว่าภาพปัจจุบันที่เรามองเห็นนัก ส่วนหนึ่งอาจเพราะในฐานะคนผ่านทางก็คงทำได้แค่เหลียวมองมากกว่าจะเข้าไปสัมผัสภาพเลือนรางในกาลเวลา เช่นเดียวกับ ‘สวนรมณีนาถ’ สวนสาธารณะเล็ก...

SDLG เครื่องจักรก่อสร้าง

0
ปัจจุบันเครื่องจักรกลหนักเพื่องานก่อสร้างจากประเทศจีน ได้รับการยอมรับมากขึ้น โดยเฉพาะในด้านคุณภาพที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยมีเครื่องจักรให้เลือกใช้ได้ครอบคลุมทุกลักษณะการใช้งาน โดยไม่ต้องบำรุงรักษามาก และที่สำคัญที่สุดคือราคาสามารถจับต้องได้ เป็นเหตุให้ผู้รับเหมาหันมาใช้เครื่องจักรจากประเทศจีนแทนการซื้อเครื่องจักรใช้แล้วที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ บริษัท...

Biophilic Design (ตอนที่ 1)

ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2558) เป็นปีที่โลกร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ มีสภาพอากาศแปรปรวน ฝนที่ตกน้อยมากจนเขื่อนและแม่น้ำแห้งขอด รวมถึงมีหน้าหนาว แต่ก็ร้อนไม่ต่างจากช่วงเวลาอื่น...

ไข 4 ปัญหาคาใจ ‘ต่อเติมครัวแล้วทรุด’

0
หนึ่งในบรรดาปัญหาบ้านทรุดที่มักคาใจเจ้าของบ้านคือ หลังจากต่อเติมครัวแล้ว พอใช้งานไปสักระยะหนึ่ง ครัวส่วนต่อเติมมักจะทรุดหลุดออกมาจากตัวบ้าน ลองมาดูกันว่าเป็นเพราะเหตุใด และมีวิธีแก้ไขอย่างไรบ้าง 1. ทำไมจึงทรุด? บ้านปกติมักลงเสาเข็มยาวลึกถึงชั้นดินแข็งจึงได้รับแรงพยุง...

ปิด “โพรงใต้บ้าน” เมื่อพื้นรอบบ้านทรุด

0
ปัญหาที่พบบ่อย ๆ อย่างพื้นรอบบ้านทรุดจนเกิดโพรงใต้บ้านนั้น สามารถแก้ไขได้โดยพิจารณาจากอัตราการทรุด หากพื้นทรุดตัวมากจนเริ่มคงที่และไม่ค่อยทรุดต่อแล้ว ก็เหมาะกับการแก้ไขแบบถาวรโดยปรับระดับพื้นให้สูงขึ้น ในทางตรงกันข้าม...